บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2017

ผ้ากาบบัว เอกลักษณ์จังหวัดอุบล

รูปภาพ
ผ้าลายกาบบัว เอกลักษณ์ของผ้าลายพื้นเมือง ที่ได้รับการกล่าวขานถึง จากครั้งอดีตจนถึงปัจจุบันของชาวอุบลราชธานีคือ  ผ้ากาบบัว  ชื่อนี้เป็นที่ถกเถียง และสงสัยกันมากถึงที่มาที่ไป ทำไมจึงเป็น  กาบบัว  ไม่ใช่  กลีบบัว  และลายที่แตกต่างนั้นดูตรงส่วนใด? คำถามเหล่านี้ผู้เขียนได้รับการสอบถามอยู่เสมอ จากเพื่อนพ้องต่างถิ่น ผู้มาเยือน และแม้แต่ลูกศิษย์ลูกหาที่สนใจใคร่รู้ จึงเป็นที่มาของเรื่องราวที่จะกล่าวถึงตำนาน และความภาคภูมิใจของชาวอุบลราชธานีในวันนี้ โดย : มนตรี โคตรคันทา ผ้ากาบบัว  เป็นชื่อผ้าที่ถูกกล่าวถึงในวรรณกรรมโบราณอีสานหลายเรื่อง คำว่า  "กาบ"  ในภาษาอีสานมีความหมายถึง เปลือกหุ้มชั้นนอกของต้นไม้บางชนิด เช่น เปลือกหุ้มต้นกล้วย เรียก กาบกล้วย หุ้มไม้ไผ่ เรียก กาบลาง กลีบหุ้มดอกบัว เรียก  กาบบัว  (สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ : ปรีชา พิณทอง) ผ้ากาบบัวอาจจะทอด้วยไหมหรือฝ้าย โดยมีเส้นยืน (Warh) ย้อมอย่างน้อยสองสีเป็นริ้ว ตามลักษณะ  "ซิ่นทิว"  ซึ่งมีความนิยมแพร่หลายแถบอุบลฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เส้นพุ่ง (Weft) ...

ผ้าลายกาบบัว

รูปภาพ
ผ้าลายกาบบัว เอกลักษณ์ของผ้าลายพื้นเมือง ที่ได้รับการกล่าวขานถึง จากครั้งอดีตจนถึงปัจจุบันของชาวอุบลราชธานีคือ  ผ้ากาบบัว  ชื่อนี้เป็นที่ถกเถียง และสงสัยกันมากถึงที่มาที่ไป ทำไมจึงเป็น  กาบบัว  ไม่ใช่  กลีบบัว  และลายที่แตกต่างนั้นดูตรงส่วนใด? คำถามเหล่านี้ผู้เขียนได้รับการสอบถามอยู่เสมอ จากเพื่อนพ้องต่างถิ่น ผู้มาเยือน และแม้แต่ลูกศิษย์ลูกหาที่สนใจใคร่รู้ จึงเป็นที่มาของเรื่องราวที่จะกล่าวถึงตำนาน และความภาคภูมิใจของชาวอุบลราชธานีในวันนี้ ผ้ากาบบัว  เป็นชื่อผ้าที่ถูกกล่าวถึงในวรรณกรรมโบราณอีสานหลายเรื่อง คำว่า  "กาบ"  ในภาษาอีสานมีความหมายถึง เปลือกหุ้มชั้นนอกของต้นไม้บางชนิด เช่น เปลือกหุ้มต้นกล้วย เรียก กาบกล้วย หุ้มไม้ไผ่ เรียก กาบลาง กลีบหุ้มดอกบัว เรียก  กาบบัว  (สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ : ปรีชา พิณทอง) ผ้ากาบบัวอาจจะทอด้วยไหมหรือฝ้าย โดยมีเส้นยืน (Warh) ย้อมอย่างน้อยสองสีเป็นริ้ว ตามลักษณะ  "ซิ่นทิว"  ซึ่งมีความนิยมแพร่หลายแถบอุบลฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เส้นพุ่ง (Weft) จะเป็นไหมสีมับไม (ไหมปั่นเกลียว...